การผ่าเครื่อง Honda Nova-S
รถครอบครัวกึ่งสปอทหรือที่เรียกกันว่ารถกระเทยได้กลายเป็นรถยอดนิยมที่มีปริมาณการจำหน่ายมากกว่ารถในเภทอื่นๆ สำหรับรถครอบครัวกึ่งสปอร์ตของฮอนด้า ซึ่งทางฮอนด้าเรียกรถรุ่นนี้ว่า "สปอร์ตครอบครัว" เนื่องจากมีลักษณะการออบแบบที่ไม่เหมือนกับรถครอบครัวโดยทั่วไป คือ เครื่องยนต์มีเสื้อสูบเอียง ลักษณะเดียวกับรถสปอร์ต รถรุ่นนี้จึงเป็นรถที่ได้รับความนิยมมากที่สุดอีกรุ่นหนึ่งที่ฮินด้าผลิตออกมา ขั้นตอนในการผ่าเครื่องรถรุ่นนี้ก็คงเป็นประโยชน์อย่างมากในการซ่อมบำรุงภายในเครื่องยนต์
การถอดฝาสูบ Honda Nova-S
- ถอดฝาครอบฝาสูบ
- ถอดปลั๊กหัวเทียน
- ถอดโบลท์ฝาครอบฝาสูบและฝาครอบ
- ถอดยางออกจากฝาสูบ
- ถอดฝาสูบออกได้โดยไม่ต้องถอดฝาครอบฝาสูบ
- ถอดนอตฝาสูบและยกฝาสูบออก
- คลายนอตฝาสูบออก 2-3 รอบเป็นมุมทแยงเพื่อป้องกันฝาสูบโก่ง
- ขูดเขม่าที่ฝาสูบและทำความสะอาดปะเก็น
- ระวังอย่าให้ผิวหน้าห้องเผาใหม้ที่ฝาสูบและผิวหน้าปะเก็นโลหะเป็นรอยขูด
- เช็คความโก่งของฝาสูบเป็นมุมแยงด้วยเหล็กฉากและฟิลเลอร์เกจ
การประกอบฝาสูบ Honda Nova-S
- ทำความสะอาดผิวหน้าของฝาสูบ อย่าให้เศษโลหะหรือเศษผงตกลงไปในกระบอกสูบ
- ให้ใช้ผ้าสะอาดเช็ดในกระบอกสูบเพื่อช่วยป้องกันทรายที่ปะเก็นตกลงไปใบกระบอกสูบ
- ใช้ลมเป่าที่หัวสูบก่อนและเคลื่อนลูกสูบลงแล้วใช้ผ้าสะอาดเช็ดที่ประบอกสูบ
- เปลี่ยนปะเก็นใหม่ แล้วประกอบฝาสูบเข้ากับเสื้อสูบ ใส่นอตหัวแหวนและขันเป็นมุมทแยงอย่าขันแน่นข้างเดียวให้ขันแรงเท่าๆกัน 2-3 ครั้ง แรงขัน 20 นิวตั้น-เมตร
- ประกอบยางรองบนฝาสูบ
- ประกอบฝาครอบฝาสูบและขันโบลท์อย่างระมัดระวัง
การถอดเสื้อสูบและลูกสูบ Honda Nova-S
- ถอดนอตหัวแหวนที่ยึดเสื้อสูบกับห้องแคร็งค์
- ถอดเสื้อสูบ อย่างัดหรือตีเสื้อสูบ
- ทำความสะอาดเขม่าที่ปากท่อไอเสีย
- ระวังอย่าขูดเขม่าโดนผนังกระบอกสูบ
ฃ
การตรวจเช็คเสื้อสูบ Honda Nova-S
- ตรวจเช็คความโก่ง ด้านบนของเสื้อสูบ โดยใช้เหล็กฉาเป็นฟิลเลอร์ เกจ (ค่าจำกัดการซ้อม 0.10 มม)
- ใช้ไมโครมิเตอร์และไดอัล เกจ ตรวจสอบความสึกหลอของกระบอกสูบ
- วัดความโตภายในของกระบอกสูบที่ X และ Y ให้วัด 3 ระดับ (ค่าจำกัดการซ่อม 52.065 มม)
- วัดค่าความเรียวและความเบี้ยวของกระบอกสูบ (ค่าจำกัดความเรียว 0.050 มม) (ค่าจำกัดความเบี้ยว 0.050 มม.)
- ถอดลูกสูบโดยใช้คีมปากจิ้งจกถอดคลิปสลักลูกสูบ
- ดันสลักลูกสูบออกจากลูกสูบแล้วถอดลูกสูบ
- ระวังอย่าให้ลูกสูบเป็นรอย จับลูกสูบไว้เมื่อถอดสลักลูกสูบ อย่าให้คลิปตกลงไปในห้องแคร็งค์
การตรวจสอบลูกสูบ Honda Nova-S
- วัดความโตภายในของลูกสูบโดยวัดจากด้านล่างของกระโปรงลูกสูบในแนวเส้นตรงต้องได้ค่า 14 มม. (0.6 นิ้ว) (ค่าจำกัดการซ่อม 51.920 มม.)
- ถ้าค่าความโตของลูกสูบต่ำกว่าค่าจำกัดการซ่อมให้เปลี่ยนลูกสูบใหม่
- คำนวนระยะห่างระหว่างลูกสูบกับกระบอกสูบ โดยหาผลต่างระหว่างกระบอกสูบกับลูกสูบ (ค่าจำกัดการซ่อม 0.090 มม.)
- ทำความสะอาดแหวนลูกสูบและแหวน
- ประกอบแหวนลูกสูบเข้ากับลูกสูบ
- วัดระยะห่างร่องแหวน ทั้งตัวบนและตัวล่าง (ค่าจำกัดการซ่อม 0.120 มม.)
- วัดความโตภายในของรูสลักลูกสูบ (ค่าจำกัดการซ่อม 14.030 มม.)
- เช็คการสึกหรอของสลักลูกสูบและจะต้องไม่มีรอยไหม้ ถ้ามีรอยไหม้ต้องเปลี่ยนใหม่
- วัดความโตภายนอกของสลักลูกสูบ (ค่าจำกัดการซ่อม 13.980 มม.)
การตรวจสอบแหวนลูกสูบ Honda Nova-S
- ใส่แหวนลูกสูบเข้าไปในกระสอบ ใช้ลูกสูบกดแหวนลงไปในกระบอกสูบ
- วัดระยะห่างปากแหวนด้วยฟิลเลอร์ เกจ (ค่าจำกัดการซ่อม 0.55 มม.)
- ถ้าปากแหวนห่าวเกินค่าที่กำหนด ให้เปลี่ยนแหวนและคว้านกระบอกสูบใหม่
- ใส่ลูกปืนและสลักลูกสูบเข้ากับปลายที่ก้านสูบและเช็คดูระยะฟรี ถ้ารู้สึกหลวมให้วัดความโตภายในของก้านสูบ (ค่าจำกัดการซ่อม 19.030 มม.)
- ถ้าค่าความโตภายในที่ปลายก้านสูบ ไม่เกินจากค่าที่กำหนด ให้เปลี่ยนสลักลูกสูบ และลูกเป็นสลัก
- ถ้าความโตภายในที่ปลายก้านสูบเกินกว่าค่าที่กำหนด ให้เปลี่ยนก้านสูบใหม่
การประกอบเสื้อสูบ Honda Nova-S
- หล่อลื่นแหวนลูกสูบและร่องแหวนลูกสูบด้วยน้ำมัน 2T
- ประกอบแหวนลูกสูบเข้ากับลูกสูบ
- ข้อควรระวัง การใส่แหวนลูกสูบให้มาร์คอยู่ที่ด้านบน"T" มาร์คแหวนตัวที่ 1 "2T" มาร์คแหวนตัวที่ 2
- หมุนให้ปากแหวนลูกสูบลงร่องแหวน
- หล่อลื่นลูกปืนและสลักลูกสูบด้วยน้ำมัน 2T
- ประกอบลูกปืนสลักลูกสูบเข้ากับก้านสูบ สลักลูกสูบและลูกสูบ
- ข้อควรระวัง ประกอบลูกสูบโดยให้เครื่องหมาน IN อยู่ทางด้านไอดี
- ประกอบคลิปล๊อคสลักลูกสูบ
- คำเตือน เปลี่ยนคลิปล๊อคตัวใหม่ทุกครั้งที่ถอดสลักออก , อย่าทำคลิปล๊อคตกลงในห้องแคร็งค์
ทำความสะอาดผิวหน้าของห้องแคร็งค์ที่มีเศษปะเก็นติดอยู่
- ข้อความระวัง อย่าให้ผิวหน้าของปะเก็นฉีกขาดหรือเศษปะเก็นตกลงไปในห้องแคร็งค์
- เปลี่ยนปะเก็นเสื้อสูบใหม่
- ให้ปากแหวนตรงกับสลักยึดปากแหวนในร่องแหวน
- หล่อลื่นลูกสูบและแหวนด้วยน้ำมัน 2T
- ยกเสื้อสูบให้เหนือลูกสูบ ขณะกดปากแหวน
- คำเตือน อย่าหมุนเสื้อสูบเพราะจะทำให้ปสกแหวนยื่นออกมาเข้าช่องพอร์ทอาจทำให้แหวนหักได้
- ใส่นอตตัวแหวนและขันให้ได้แรงบิด 20 นิวตัน-เมตร
- ดูขั้นตอนการประกอบฝาสูบ
การถอดประกอบฝาครอบครัตช์ Honda Nova-S
การตรวจสอบครัตข์แรงเหวียง Honda Nova-S
- วัดความหนาของผ้าครัตช์แรงเหวียง (ค่าจำกัดการซ่อม 1.0 มม.)
- ตรวจดูความสึกของดรัมคลัตช์และวัดความโตภายใน (ค่าจำกัดการซ่อม 102.3 มม.)
- เช็คลูกปืนและสปริงกันกลับ ถ้าสึกหรอมากหรือเสียให้เปลี่ยนใหม่
- เช็คดูฟันเฟืองลดเสียงและสปริงเฟืองลดเสียง ให้เปลี่ยนใหม่ถ้าจะเป็น
- วัดความโตภายในของเฟืองลดเสียง (ค่าจำกัดการซ่อม 26.070 มม.)
- วัดความโตภายนอกของดรัมคลัตช์ที่เฟืองลดเสียง (ค่าจำกัดการซ่อม 25.930)
- ตรวจบู๊ชคลัตช์แรงเหวียง ถ้ามีรอยหรือขูดขีดหรือสึกมาก ผิวหน้าจะแดงปรากฏมากกว่า 3/4 ของผิิวหน้าทั้งหมด ให้เปลี่ยนใหม่
- วัดความโตภายนอกของเพลาข้อเหวียง 2 จุด (ค่าจำกัดการซ่อม 19.935 มม.)
การตรวจสอบครัตช์ขับเคลื่อน Honda Nova-S
- วัดความโตภายในของรูที่เสื้อคลัตช์ (ค่าจำกัดการซ่อม 23.060 มม.)
- วัดความโตภายในและภายนอกของบู๊ชคลัตช์ (ค่าจำกัดการซ่อมโตภายใน 17.040 มม.) (ความโตภายนอก 22.930 มม.)
- เช็ครอยหรือร่องที่เกิดจากการกระชากของแผ่นคลัตช์
- ตรวจสอบแผ่นกดสปริงกดคลัตช์
- วัดความโตภายนอกของเพลาขับ (ค่าจำกัดการซ่อม 16.936 มม.)
- หมุนลูกปืนด้วยนิ้วมือลูกปืนจะต้องหมุนคล่อง
- วัดความยาวอิสระของสปริงคลัตช์ (ค่าจำกัดการซ่อม 40.50 มม.)
- เปลี่ยนผ้าคลัตช์ถ้าเห็นว่ามีรอยเส้นหรือรอยไหม้
- วัดความหนาผ้าคลัตช์ (ค่าจำกัดการซ่อม 2.5 มม.)
- เช็คการโก่งของแผ่นเหล็กคลัตช์ แต่ละแผ่นด้วยฟิลเลอร์ เกจ (ค่าจำกัดการซ่อม 0.2 มม.)
- เช็คแผ่นรองสปริงและจากสปริง ถ้าสึกหรือเสียให้เปลี่ยนใหม่
การถอดประกอบชุดเฟืองและเพลาข้อเหวียง Honda Nova-S
การตรวจสอบเพลาและเฟืองเกียร์ Honda Nova-S
- ตรวจสอบเฟืองแต่ละตัว สึกหรือเสียให้เปลี่ยนใหม่ถ้าจำเป็น
- เช็คฟันเฟืองและร่องก้ามปู
- เช็คผิวหน้าของเพลาตามและเพลาขับ
- วัดความโตภายในของเฟืองแต่ละตัว
รถครอบครัวกึ่งสปอทหรือที่เรียกกันว่ารถกระเทยได้กลายเป็นรถยอดนิยมที่มีปริมาณการจำหน่ายมากกว่ารถในเภทอื่นๆ สำหรับรถครอบครัวกึ่งสปอร์ตของฮอนด้า ซึ่งทางฮอนด้าเรียกรถรุ่นนี้ว่า "สปอร์ตครอบครัว" เนื่องจากมีลักษณะการออบแบบที่ไม่เหมือนกับรถครอบครัวโดยทั่วไป คือ เครื่องยนต์มีเสื้อสูบเอียง ลักษณะเดียวกับรถสปอร์ต รถรุ่นนี้จึงเป็นรถที่ได้รับความนิยมมากที่สุดอีกรุ่นหนึ่งที่ฮินด้าผลิตออกมา ขั้นตอนในการผ่าเครื่องรถรุ่นนี้ก็คงเป็นประโยชน์อย่างมากในการซ่อมบำรุงภายในเครื่องยนต์
การถอดฝาสูบ Honda Nova-S
- ถอดฝาครอบฝาสูบ
- ถอดปลั๊กหัวเทียน
- ถอดโบลท์ฝาครอบฝาสูบและฝาครอบ
- ถอดยางออกจากฝาสูบ
- ถอดฝาสูบออกได้โดยไม่ต้องถอดฝาครอบฝาสูบ
- ถอดนอตฝาสูบและยกฝาสูบออก
- คลายนอตฝาสูบออก 2-3 รอบเป็นมุมทแยงเพื่อป้องกันฝาสูบโก่ง
- ขูดเขม่าที่ฝาสูบและทำความสะอาดปะเก็น
- ระวังอย่าให้ผิวหน้าห้องเผาใหม้ที่ฝาสูบและผิวหน้าปะเก็นโลหะเป็นรอยขูด
- เช็คความโก่งของฝาสูบเป็นมุมแยงด้วยเหล็กฉากและฟิลเลอร์เกจ
การประกอบฝาสูบ Honda Nova-S
- ทำความสะอาดผิวหน้าของฝาสูบ อย่าให้เศษโลหะหรือเศษผงตกลงไปในกระบอกสูบ
- ให้ใช้ผ้าสะอาดเช็ดในกระบอกสูบเพื่อช่วยป้องกันทรายที่ปะเก็นตกลงไปใบกระบอกสูบ
- ใช้ลมเป่าที่หัวสูบก่อนและเคลื่อนลูกสูบลงแล้วใช้ผ้าสะอาดเช็ดที่ประบอกสูบ
- เปลี่ยนปะเก็นใหม่ แล้วประกอบฝาสูบเข้ากับเสื้อสูบ ใส่นอตหัวแหวนและขันเป็นมุมทแยงอย่าขันแน่นข้างเดียวให้ขันแรงเท่าๆกัน 2-3 ครั้ง แรงขัน 20 นิวตั้น-เมตร
- ประกอบยางรองบนฝาสูบ
- ประกอบฝาครอบฝาสูบและขันโบลท์อย่างระมัดระวัง
การถอดเสื้อสูบและลูกสูบ Honda Nova-S
- ถอดนอตหัวแหวนที่ยึดเสื้อสูบกับห้องแคร็งค์
- ถอดเสื้อสูบ อย่างัดหรือตีเสื้อสูบ
- ทำความสะอาดเขม่าที่ปากท่อไอเสีย
- ระวังอย่าขูดเขม่าโดนผนังกระบอกสูบ
ฃ
การตรวจเช็คเสื้อสูบ Honda Nova-S
- ตรวจเช็คความโก่ง ด้านบนของเสื้อสูบ โดยใช้เหล็กฉาเป็นฟิลเลอร์ เกจ (ค่าจำกัดการซ้อม 0.10 มม)
- ใช้ไมโครมิเตอร์และไดอัล เกจ ตรวจสอบความสึกหลอของกระบอกสูบ
- วัดความโตภายในของกระบอกสูบที่ X และ Y ให้วัด 3 ระดับ (ค่าจำกัดการซ่อม 52.065 มม)
- วัดค่าความเรียวและความเบี้ยวของกระบอกสูบ (ค่าจำกัดความเรียว 0.050 มม) (ค่าจำกัดความเบี้ยว 0.050 มม.)
- ถอดลูกสูบโดยใช้คีมปากจิ้งจกถอดคลิปสลักลูกสูบ
- ดันสลักลูกสูบออกจากลูกสูบแล้วถอดลูกสูบ
- ระวังอย่าให้ลูกสูบเป็นรอย จับลูกสูบไว้เมื่อถอดสลักลูกสูบ อย่าให้คลิปตกลงไปในห้องแคร็งค์
- วัดความโตภายในของลูกสูบโดยวัดจากด้านล่างของกระโปรงลูกสูบในแนวเส้นตรงต้องได้ค่า 14 มม. (0.6 นิ้ว) (ค่าจำกัดการซ่อม 51.920 มม.)
- ถ้าค่าความโตของลูกสูบต่ำกว่าค่าจำกัดการซ่อมให้เปลี่ยนลูกสูบใหม่
- คำนวนระยะห่างระหว่างลูกสูบกับกระบอกสูบ โดยหาผลต่างระหว่างกระบอกสูบกับลูกสูบ (ค่าจำกัดการซ่อม 0.090 มม.)
- ทำความสะอาดแหวนลูกสูบและแหวน
- ประกอบแหวนลูกสูบเข้ากับลูกสูบ
- วัดระยะห่างร่องแหวน ทั้งตัวบนและตัวล่าง (ค่าจำกัดการซ่อม 0.120 มม.)
- วัดความโตภายในของรูสลักลูกสูบ (ค่าจำกัดการซ่อม 14.030 มม.)
- เช็คการสึกหรอของสลักลูกสูบและจะต้องไม่มีรอยไหม้ ถ้ามีรอยไหม้ต้องเปลี่ยนใหม่
- วัดความโตภายนอกของสลักลูกสูบ (ค่าจำกัดการซ่อม 13.980 มม.)
การตรวจสอบแหวนลูกสูบ Honda Nova-S
- ใส่แหวนลูกสูบเข้าไปในกระสอบ ใช้ลูกสูบกดแหวนลงไปในกระบอกสูบ
- วัดระยะห่างปากแหวนด้วยฟิลเลอร์ เกจ (ค่าจำกัดการซ่อม 0.55 มม.)
- ถ้าปากแหวนห่าวเกินค่าที่กำหนด ให้เปลี่ยนแหวนและคว้านกระบอกสูบใหม่
- ใส่ลูกปืนและสลักลูกสูบเข้ากับปลายที่ก้านสูบและเช็คดูระยะฟรี ถ้ารู้สึกหลวมให้วัดความโตภายในของก้านสูบ (ค่าจำกัดการซ่อม 19.030 มม.)
- ถ้าค่าความโตภายในที่ปลายก้านสูบ ไม่เกินจากค่าที่กำหนด ให้เปลี่ยนสลักลูกสูบ และลูกเป็นสลัก
- ถ้าความโตภายในที่ปลายก้านสูบเกินกว่าค่าที่กำหนด ให้เปลี่ยนก้านสูบใหม่
การประกอบเสื้อสูบ Honda Nova-S
- ประกอบแหวนลูกสูบเข้ากับลูกสูบ
- ข้อควรระวัง การใส่แหวนลูกสูบให้มาร์คอยู่ที่ด้านบน"T" มาร์คแหวนตัวที่ 1 "2T" มาร์คแหวนตัวที่ 2
- หมุนให้ปากแหวนลูกสูบลงร่องแหวน
- หล่อลื่นลูกปืนและสลักลูกสูบด้วยน้ำมัน 2T
- ประกอบลูกปืนสลักลูกสูบเข้ากับก้านสูบ สลักลูกสูบและลูกสูบ
- ข้อควรระวัง ประกอบลูกสูบโดยให้เครื่องหมาน IN อยู่ทางด้านไอดี
- ประกอบคลิปล๊อคสลักลูกสูบ
- คำเตือน เปลี่ยนคลิปล๊อคตัวใหม่ทุกครั้งที่ถอดสลักออก , อย่าทำคลิปล๊อคตกลงในห้องแคร็งค์
ทำความสะอาดผิวหน้าของห้องแคร็งค์ที่มีเศษปะเก็นติดอยู่
- ข้อความระวัง อย่าให้ผิวหน้าของปะเก็นฉีกขาดหรือเศษปะเก็นตกลงไปในห้องแคร็งค์
- เปลี่ยนปะเก็นเสื้อสูบใหม่
- ให้ปากแหวนตรงกับสลักยึดปากแหวนในร่องแหวน
- หล่อลื่นลูกสูบและแหวนด้วยน้ำมัน 2T
- ยกเสื้อสูบให้เหนือลูกสูบ ขณะกดปากแหวน
- คำเตือน อย่าหมุนเสื้อสูบเพราะจะทำให้ปสกแหวนยื่นออกมาเข้าช่องพอร์ทอาจทำให้แหวนหักได้
- ใส่นอตตัวแหวนและขันให้ได้แรงบิด 20 นิวตัน-เมตร
- ดูขั้นตอนการประกอบฝาสูบ
การถอดประกอบฝาครอบครัตช์ Honda Nova-S
การตรวจสอบครัตข์แรงเหวียง Honda Nova-S
- วัดความหนาของผ้าครัตช์แรงเหวียง (ค่าจำกัดการซ่อม 1.0 มม.)
- ตรวจดูความสึกของดรัมคลัตช์และวัดความโตภายใน (ค่าจำกัดการซ่อม 102.3 มม.)
- เช็คลูกปืนและสปริงกันกลับ ถ้าสึกหรอมากหรือเสียให้เปลี่ยนใหม่
- เช็คดูฟันเฟืองลดเสียงและสปริงเฟืองลดเสียง ให้เปลี่ยนใหม่ถ้าจะเป็น
- วัดความโตภายในของเฟืองลดเสียง (ค่าจำกัดการซ่อม 26.070 มม.)
- วัดความโตภายนอกของดรัมคลัตช์ที่เฟืองลดเสียง (ค่าจำกัดการซ่อม 25.930)
- ตรวจบู๊ชคลัตช์แรงเหวียง ถ้ามีรอยหรือขูดขีดหรือสึกมาก ผิวหน้าจะแดงปรากฏมากกว่า 3/4 ของผิิวหน้าทั้งหมด ให้เปลี่ยนใหม่
- วัดความโตภายนอกของเพลาข้อเหวียง 2 จุด (ค่าจำกัดการซ่อม 19.935 มม.)
- วัดความโตภายในของรูที่เสื้อคลัตช์ (ค่าจำกัดการซ่อม 23.060 มม.)
- วัดความโตภายในและภายนอกของบู๊ชคลัตช์ (ค่าจำกัดการซ่อมโตภายใน 17.040 มม.) (ความโตภายนอก 22.930 มม.)
- เช็ครอยหรือร่องที่เกิดจากการกระชากของแผ่นคลัตช์
- ตรวจสอบแผ่นกดสปริงกดคลัตช์
- วัดความโตภายนอกของเพลาขับ (ค่าจำกัดการซ่อม 16.936 มม.)
- หมุนลูกปืนด้วยนิ้วมือลูกปืนจะต้องหมุนคล่อง
- วัดความยาวอิสระของสปริงคลัตช์ (ค่าจำกัดการซ่อม 40.50 มม.)
- เปลี่ยนผ้าคลัตช์ถ้าเห็นว่ามีรอยเส้นหรือรอยไหม้
- วัดความหนาผ้าคลัตช์ (ค่าจำกัดการซ่อม 2.5 มม.)
- เช็คการโก่งของแผ่นเหล็กคลัตช์ แต่ละแผ่นด้วยฟิลเลอร์ เกจ (ค่าจำกัดการซ่อม 0.2 มม.)
- เช็คแผ่นรองสปริงและจากสปริง ถ้าสึกหรือเสียให้เปลี่ยนใหม่
การถอดประกอบชุดเฟืองและเพลาข้อเหวียง Honda Nova-S
การตรวจสอบเพลาและเฟืองเกียร์ Honda Nova-S
- ตรวจสอบเฟืองแต่ละตัว สึกหรือเสียให้เปลี่ยนใหม่ถ้าจำเป็น
- เช็คฟันเฟืองและร่องก้ามปู
- เช็คผิวหน้าของเพลาตามและเพลาขับ
- วัดความโตภายในของเฟืองแต่ละตัว